คุณสมบัติของกัลยาณมิตร
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยธรรม 7 ประการ ควรเสพ ควรคบเป็นมิตร ความเข้าไปนั่งใกล้ แม้ถูกขับไล่ ธรรม 7 ประการเป็นไฉนคือ....
วันนี้วันที่สิบเอ็ดของการเข้าพรรษา : ธรรมชาติ
11 วันแล้วตั้งแต่วันเข้าพรรษา อ่านเรื่องเล่าวันเข้าพรรษา พระธรรมเทศนาโดยหลวงพ่อธัมมชโย ช่วงเข้าพรรษา ปีพ.ศ.2546 มาติดตามกันค่ะ ...
ผู้ชนะความโกรธ
ผู้ไม่โกรธ ฝึกฝนตนแล้ว มีความเป็นอยู่สม่ำเสมอ หลุดพ้นแล้ว เพราะรู้ชอบ สงบ คงที่อยู่ ความโกรธจักมีมาแต่ที่ไหน ผู้ใดโกรธตอบบุคคลผู้โกรธแล้ว ผู้นั้นเป็นผู้ลามก
พระมหากัจจายนะ
พระมหากัจจายนะมิเพียงเปี่ยมด้วยคุณสมบัติและทรัพย์สมบัติ แต่ท่านยังเลิศด้วยรูปสมบัติ คือมีผิวพรรณละเอียดอ่อนผุดผ่องดุจทองคำ และมีรูปร่างสง่างามคล้ายคลึงกับพระบรมศาสดา จนทำให้หลาย ๆ คนเข้าใจผิดว่าท่านคือพระบรมศาสดาเหลือเชื่อแต่เป็นความจริงดังต่อไปนี้...
ความหมายของ ธรรม ในคำว่า ธรรมกาย
ธรรม ในคำว่าธรรมกาย ที่เป็นพระนามหนึ่งของพระตถาคตนั้นจึงควรหมายถึง โลกุตตรธรรม คือ มรรค ผลนิพพาน ที่เมื่อเข้าถึงแล้ว สามารถเปลี่ยนแปลงปุถุชนให้เป็นอริยบุคคล และเปลี่ยนอริยบุคคลชั้นต้นให้เป็นอริยบุคคลเบื้องสูงขึ้นไปได้นั่นเอง
มงคลที่ ๑๑ บำรุงบิดามารดา - พญาช้างโพธิสัตว์
ความมืดมิดที่ปกคลุมดวงจิตของคนอกตัญญู มืดยิ่งกว่ากลางคืนที่ไร้แสงจันทร์ เพราะ ยามราตรีแม้ไม่มีแสงจันทร์ ก็ยังมีแสงจากดวงดาว แสงหิ่งห้อย แต่ถ้าเป็นคนอกตัญญูจิตใจมืดบอดแล้ว แม้แสงสว่างแห่งความดีทั้งหลายก็ไม่อาจส่องเข้าไปในจิตใจเขาได้ เขาจะมองไม่เห็นคุณความดีของใครเลย เหมือนเรื่องของนายพรานใจบาป
ภูมิของพระโสดาบัน
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ ย่อมเป็นพระโสดาบัน มีความไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เป็นผู้เที่ยงแท้ที่จะตรัสรู้ในเบื้องหน้า ธรรม ๔ ประการคือ อริยสาวกในธรรมวินัยนี้ ประกอบด้วยความเลื่อมใสอันไม่หวั่นไหวในพระพุทธเจ้า ในพระธรรม ในพระสงฆ์ ประกอบด้วยศีลที่พระอริยเจ้าใคร่แล้ว อริยสาวกผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการเหล่านี้แล เป็นพระโสดาบัน มีความไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เป็นผู้เที่ยงแท้ที่จะตรัสรู้ในเบื้องหน้า
มงคลที่ ๒๓ มีความถ่อมตน - พระทัพพมัลลบุตร (๒)
ท่านพระทัพพมัลลบุตร ถึงแม้ว่าจะบรรลุธรรมเป็นพระอรหันต์ เสร็จกิจของการประพฤติพรหมจรรย์แล้ว ท่านยังมีความเสียสละ รับเป็นธุระในกิจการงาน ของสงฆ์ เป็นการกระทำที่น่ายกย่อง และเป็นแบบอย่างในการสร้างบารมี
ถ้าจิตขุ่นมัวในขณะนั้น ตายแล้วไปไหน ?
ถ้าจิตขุ่นมัวในขณะนั้น ตายแล้วไปสู่อบายภูมิ มีนรก เป็นต้น สมดังที่พระพุทธองค์ตรัสไว้ใน ปุคคลสูตร ว่า...
มงคลที่ ๔ อยู่ในถิ่นที่เหมาะสม
เราจะเห็นว่า การได้อยู่ในปฏิรูปเทส เช่นพระวักกลินั้น เป็นมงคลยิ่งแก่ชีวิต เพราะท่านอยู่ในกรุงสาวัตถี ซึ่งเป็นที่ตั้งของวัดเชตวันที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าประทับอยู่นานที่สุด จึงมีโอกาสได้เห็นพระพุทธองค์ เห็นแล้วก็มีความศรัทธาเลื่อมใส ได้บวชในบวรพระพุทธศาสนา ได้ฟังธรรม ฝึกฝนตนเอง จนในที่สุดได้บรรลุมรรคผลนิพพาน